บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2022

สายพานลำเลียงและ รถ agv

รูปภาพ
  สายพานลำเลียงและ รถ agv ระบบสายพานลำเลียง  ( Belt Conveyor ) คือ อุปกรณ์ลำเลียง ( Conveyor ) ที่ใช้สายพาน (Belt) เป็นตัวนำพาวัสดุ  ระบบสายพานลำเลียง ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายวัสดุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง  หลังจากวัสดุหรือชิ้นงานผ่านกระบวนการตามขั้นตอนมา เมื่อมาถึงการขนย้ายหรือลำเลียงก็จะใช้ระบบสายพานลำเลียง (Belt Conveyor System) ในการเคลื่อนย้ายวัสดุหรือชิ้นงาน  ดังนั้น ระบบสายพานลำเลียงจึงเหมาะสำหรับ โรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท ที่ใช้ระบบสายพานลำเลียงในกระบวนการผลิต ระบบสายพานลำเลียง (Belt Conveyor System) มี 4 ประเภท 1. ระบบสายพานลำเลียง Plastic Belt Conveyor System (แบบพลาสติก) ระบบสายพานลำเลียง Plastic Belt Conveyor System (แบบพลาสติก) สำหรับลำเลียงชิ้นงานหรือวัสดุขึ้นในแนวลาดเอียง ในไลน์การผลิตที่มีการลำเลียงต่างระดับ ระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก สามารถลำเลียงผ่านน้ำหรือลำเลียงชิ้นงานที่เปียกได้ และยังไม่เป็นสนิท ลักษณะการทำงานของระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก จะลำเลียงจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง โดยการลำเลียงจะมีลักษณะแนวลาดเอียง ลำเลียงจากที่ต่ำขึ้นสู่ที่สูง องศาลาดเอียงของระบบสายพานลำเ

สมาชิกในชั้นเรียนไฟฟ้า B

                                                                                   รายชื่อสมาชิกในชั้นเรียน ลำดับที่                                  รายชื่อ                                                                       ชื่อเล่น                                     นาย ธภัทร ชัยชูโชค                                                   อาจารย์ปาล์ม 646715045                 นาย พงศกร เหล็มเหร็ม                                                           ฟิก 646715046                 นายภูมินทร์ เซ่งอั้น                                                                 โอ๊ต 646715047                 ไม่ส่งชื่อ 646715048                 นาย มัซลัณ สาและ                                                                  ลัน 646715049                  นาย มัูฮัมหมัดอิรฟาน วาเล็ง                                            ฟาน 646715050                  นายมูฮัมหมัดฮารีส มะลี                                                       ฮาริส 646715051                 ไม่ส่งชื่

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม

รูปภาพ
  หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม 1.หุ่นยนต์ที่นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม หุ่นยนต์จัดเรียงสินค้า ( Robot Palletizer)​ เนื่องจากการวางกล่องด้วยตนเองบนพาเลทอาจใช้เวลานานและมีราคาแพง ผู้ผลิตกำลังค้นหาระบบขนย้ายวัสดุอัตโนมัติเพื่อเพิ่มกำไรของพวกเขา ตั้งแต่การลำเลียงสิ่งของในการผลิตไปจนถึง การจัดวางบนพาเลทไปจนถึงประตูท่าเรือการจัดเรียงเป็นพาเลท (Palletizing) หมายถึงการทำงานของการโหลดวัตถุ เช่นกล่องกระดาษลูกฟูกบนพาเลท หรืออุปกรณ์ที่คล้ายกันในรูปแบบที่กำหนด ในขณะที่ depalletizing หมายถึงการดำเนินการของการโหลดวัตถุโหลดในรูปแบบหมุนเวียน ในกรณีที่ความเร็วต่ำ เครื่องdepalletizing และ เครื่องจัดวางสามารถทำงานได้ด้วยตนเอง อย่างไรก็ตามเมื่อความเร็วเพิ่มขึ้นนั่นอาจยากต่อการ จัดการกับผลิตภัณฑ์การดำเนินการอัตโนมัติเหล่านี้กลายเป็นสิ่งจำเป็น   เครื่องจักรสำหรับจัดวางบรรจุภัณฑ์  palletizer   เป็นเครื่องจักรที่ใช้งานอัตโนมัติสำหรับการวางซ้อนสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ลงบนพาเลท   palletizer เครื่องจักรสำหรับจัดวางบรรจุภัณฑ์ยานยนต์นี้ถูกออกแบบสร้าง และติดตั้งครั้งแรกในปี 1948 โดย บริษัท ที่รู้จักกันในชื่อ   Lamson Corp   (แ

เครื่องจักร NC

รูปภาพ
   เครื่องจักร NC    เครื่องจักรNC   ย่อมาจาก Numerical Control  หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง NC ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม NC. ระบบ NC ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1950 ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. ในปัจจุบันระบบ NC จะถูกแทนที่ด้วยระบบ NC เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ NC ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย NC ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว. ระบบ NC มีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ        1.ชุดคำสั่ง (Programmed) คือคำสั่งในแต่ละขั้นตอนเพื่อกำหนดให้เครื่องจักร NC ทำงานตามที่เราต้องการ โดยที่ชุดคำสั่งนี้จะถูกสร้างขึ้นในลักษณะของตัวเลข ตัวอักษรสัญลักษณฺ์ต่างๆ แล้วเก็บไว้ในเทปกระดาษที่เจาะรู เมื่อจะนำไปใช้งานก็จะใช้เครื่องอ่านเทปเพื่อแปลรหัสคำสั่งให้ทำงานตามขั้นตอน.        2.หน่วยควบคุมการทำงานของเครื่องหรือเอ็มซียู (MCU : Machine Control Unit) คือส่วนที่ทำหน้าที่อ่านและตีความหมายของคำสั่งเพื่อแยกคำสั่งออกเป็นสัญญาณไปควบค

เทคโนโลยีการสื่อสาร

รูปภาพ
  เทคโนโลยีการสื่อสาร เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology)   คือเทคโนโลยีดิจิตัล  (Digital Technology) ประเภทหนึ่งซึ่งได้พัฒนาตัวเพื่อเอื้อต่อการจัดการ  “การสื่อสาร (Communication) ” หรือ “การขนส่งข่าวสาร (Transfer of Information) ”    เทคโนโลยีการสื่อสาร  ไม่ว่าจะเป็นทางด้านภาพ (Image) เสียง (Voice)  หรือ ทางด้านข้อมูล (Data) ได้รับการพัฒนาจนมนุษย์ สามารถเชื่อมโยงติดต่อกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว  และเป็นเครือข่ายที่ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก  เป็นยุคของสารสนเทศ (Information Age) และเป็นสังคมสาร- สนเทศ (Information Society) ที่นับวันจะมีอัตราการเติบโตขึ้นทุกที่ทั้งในด้านขนาดและปริมาณข่าวสารที่ไหลเวียนอยู่ในสังคม  หมายถึง เทคโนโลยีในการสื่อสารยุคใหม่ 4 กลุ่ม ได้แก่  1. เทคโนโลยีการแพร่ภาพและเสียง  (Broadcast and Motion Picture Technology) 2. เทคโนโลยีการพิมพ์   (Print and Publishing Technology)  3. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์   (Computer Technology)   4.  เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม   (Telecommunication Technology)   ข้อดี 1. ลดแรงงานคนในการทำงานต่าง ๆ เช่น ควบคุมการผลิต และช่วยในการคำนวน